การสลายอำนาจ “นัต” ผีอารักษ์ในพม่าท่ามกลางสังคมพุทธ
ความเชื่อและการบูชาผีแทบเป็นเรื่องสามัญในสังคมมนุษย์หลายยุคสมัย แม้แต่ในพม่าซึ่งเป็นที่รับรู้ว่าเป็น “ดินแดนแห่งพุทธศาสนา” ท่ามกลางบรรยากาศสังคมพุทธก็ยังมีการบูชาผี และที่พบได้บ่อยคือ “นัต” ผีอารักษ์ที่แพร่หลายมาก แม้ว่า “นัต” จะเคยผ่าน “การสลายอำนาจ” มาแล้วก็ตาม การบูชา “นัต” ในสังคมพม่ายังเป็นสิ่งที่พบเห็นตามบ้านเรือนในรอบทศวรรษที่ผ่านมา อรนุช และวิรัช นิยมธรรม ผู้เขียนบทความ “นัต : ผีอารักษ์ในสังคมพม่า” เล่าว่า บ้านของชาวพม่าบางรายยังพบหิ้งบูชานัตตั้งไว้ใกล้กับหิ้งพระพุทธรูป หรือในลานพระเจดีย์ยังมีรูปนัตปั้นเป็นองค์เทพ เทวี ผู้เฒ่า หรือรูปยักษ์ให้ได้พบเห็นกัน jumbo jili “โวหารลีนตฺถทีปนี” ตำรานิรุกติศาสตร์เก่าแก่ของพม่าแต่งโดย มหาเชยสงฺขยา และสารานุกรมพม่า เล่ม 6 ต่างระบุไว้ทำนองเดียวกันว่า “นัต” มาจากคำว่า “นาถ” ในภาษาบาลี อันหมายถึง “ผู้เป็นที่พึ่ง” สารานุกรมพม่าของรัฐบาลเมียนมาร์ กล่าวถึงนัตไว้ 3 นัย ได้แก่ เทพอุปปัตติทรงฤทธิ์ผู้คุ้มครองมนุษย์, วิญญาณศักดิ์สิทธิ์ของผู้ตายร้าย…continue reading →